ปัจจุบันประชาชนนิยมรับประทานไก่พื้นเมืองกันมาก แม้ว่าประชาชนจะนิยมเลี้ยงกันอยู่ทั่วไปก็ตาม แต่ไก่พื้นเมือง ก็ยัง ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด หรือประชาชนผู้รับประมาณเ นื้ อไก่พื้นเมือง ทั้งนี้เพราะผู้ที่เลี้ยงไกพื้นเมืองในชนบทโดยทั่วไป ใช้วิธีการเลี้ยงแบบปล่อยให้ไก่พื้นเมืองหากินเองตามธรรมชาติ และเลี้ยงเป็นจำนวนน้อย จะให้อาหารบ้างเป็นบางครั้งคราว
จึงทำให้ไก่พื้นเมืองเจริญเติบโตช้าและเป็นโ s คจำนวนมาก ทั้งๆ ที่ไก่พื้นเมืองมีลักษณะเด่น คือ เลี้ยงง่าย มีความต้านทานโ s คสูง เ นื้ อเป็นที่นิยมรับประทาน เพราะมีรสชาติดีดังนั้น หากผู้ที่เลี้ยงไกพื้นเมืองมีการศึกษาวิธีการเลี้ยงไก่พื้นเมือง ให้เข้าใจ พร้อมทั้งมีการดูแลป้องกันรักษาการเกิดโ s คต่างๆ
ก็จะทำให้ผลผลิตไก่พื้นเมืองดีขึ้น สามารถจำหน่ายได้ราคาดี เป็นการเพิ่มพูนรายได้ให้กับผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองอีกทางหนึ่งด้วย หากมองให้กว้างๆออกไปอีกไก่พื้นเมืองจะช่วยให้ธรรมชาติม ีความสมดุลในระบบไร่นา คือ จะช่วยจิกกินแมลงที่ทำ ล า ยต้นพืชบางอย่ างการเลี้ยงไก่พื้นเมืองมีประโยชน์ ดังนี้
1. ทำให้ผู้เลี้ยงไก่พื้นเมืองมีอาหารที่ดีมีคุณภาพไว้รับประทานเ นื้ อไก่พื้นเมืองและไข่ไก่พื้นเมืองทำให้เด็กเจริญเติบโตเร็ว และช่วยบำรุงส ม อ งให้มีสติปัญญาดี เฉลียวฉลาด
2. ทำให้ผู้เลี้ยงไก่พื้นเมืองมีรายได้เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพราะไม่ต้องเสียเงินไปซื้อเ นื้ อไก่พื้นเมืองและไข่ไก่พื้นเมืองมารับประทาน สามารถเอาเงินนั้นเก็บไว้ซื้อสิ่งอื่นๆ ที่จำเป็นและหากผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองเลี้ยงไว้จนเหลือรับประทานแล้วก็สามารถนำไก่พื้นเมืองไปขายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวด้วยอีกทางหนึ่ง
3. มูลไก่เป็นปุ๋ยคอกที่มีธาตุอาหารของพืชสูง มูลไก่เป็นผลพลอยได้อย่ างหนึ่งของการเลี้ยงไก่พื้นเมือง เป็นปุ๋ยต้นไม้ต่างๆ ได้ดี และเป็นอาหารเลี้ยงปลาก็ได้ เนื่องจากมูลไก่พื้นเมืองมีธาตุอาหารมากมาทั้งไนโตรเจน โปรตีน แคลเซียมและฟอสฟอรัส
4. ไก่พื้นเมืองสามารถเลี้ยงเป็นอาชีพได้ เ นื่ องจากไก่พื้นเมืองขายได้ราคาดีมากทั้งตัว wู้ และตัวเ มี ย หรือสามารถเลี้ยงเป็นงานอดิเรกก็ได้ ซึ่งก็จะทำให้มีรายได้เพิ่มพูนยิ่งขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย
5. ไก่พื้นเมืองเลี้ยงง่ายและมีความต่างทานโ s คสูง สามารถปล่อยให้หากินอาหารที่มีอยู่ตามธรรมชาติได้โดยไม่ต้องเสียเวลาในการเลี้ยงดูเหมือนไก่พั น ธุ์อื่น ๆ
6. การเลี้ยงไก่พื้นเมืองสามารถช่วยแก้ความเครียด ความหงุดหงิดได้ เป็นการผ่อนคลายอารมณ์ได้เป็นอย่ างดีและเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เรื่องที่ 2 คุณสมบัติลักษณะที่ดีของไก่พื้นเมือง
ไก่พื้นเมืองมีข้อดีหลายอย่างด้วยกัน ถ้าผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองห มั่ นคอยสังเกตการเลี้ยงจะมองเห็นได้ชัดเจน ดังนี้
1. ไก่พื้นเมืองใช้เวลาเลี้ยงไม่มาก ต้องมีการอนุบาลลูกไก่พื้นเมืองระยะแรกเกิดนิดหน่อย หลังจากนั้นก็ปล่อยให้หาอาหารกินเองตามธรรมชาติ เป็นการช่วยทุ่นค่าอาหารได้
และให้อาหารเสริมบ้าง ไก่พื้นเมืองจึงจะเจริญเติบโต บางทีผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองไม่ต้องมีการอนุบาลลูกไก่ระยะแรกเกิดเลยก็ได้ โดยปล่อยให้แม่ไก่พื้นเมืองฟักไข่และเลี้ยงลูกจนถึงระยะที่แม่และลูกไก่พื้นเมืองแยกออกจากกัน
2. ในปีหนึ่ง ๆ แม่ไก่พื้นเมืองจะไข่และฟักไข่ 3-4 รุ่นต่อปี แม่ไก่ตัวหนึ่งจะฟักลูกออกมาประมาณ 8-12 ตัว ทั้งปีแม่ไก่พื้นเมือง 1 ตัว จะให้ลูกประมาณ 30-40 ตัว ทำให้ผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองมีไก่พื้นเมืองกินตลอดปี
3. เมื่อพูดถึงไก่พื้นเมืองแล้ว จะมีรสชาดอร่อย เ นื้ อไก่พื้นเมืองมีไขมันน้อยและให้คุณค่าทางอาหารสูงจึงเป็นที่ต้องการของตลาด เพราะประชาชนนิยมรับประทานไก่พื้นเมืองเป็นหลักมากกว่าไก่พั น ธุ์อื่น ๆ
4. มีผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองหลายรายที่สามารถเลี้ยงไก่พื้นเมืองเป็นอาชีพได้อย่ างดี เ นื่ องจากไก่พื้นเมืองมีราคาสูง ขายได้ราคาดีทั้งตัว wู้ และตัวเ มี ย จึงยึดเป็นอาชีพหลักได้อย่ างสบาย ซึ่งนับเป็นอาชีพที่น่าสนใจมากทีเดียว
5. ไก่พื้นเมืองเลี้ยงง่ายมีความต้านทานโ s คสูง สามารถเลี้ยงแบบปล่อยได้ ไม่เสียเวลาเลี้ยงดูมากและกินอาหารที่มีอยู่ตามธรรมชาติได้ไม่เหมือนไก่พั น ธุ์อื่นๆ
เรื่องที่ 3 การเลือกสถานที่เลี้ยงไก่พื้นเมือง
สถานที่เลี้ยงไก่พื้นเมือง นับเป็นปัจจัยที่บ่งบอกความสำเร็จของการเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้เป็นอย่ างดีดังนั้น ผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองควรให้ความสนใจการเลือกสถานที่เลี้ยงไก่พื้นเมือง ควรพิจารณาสิ่งสำคัญ ดังนี้
1. ควรเป็นที่เนินและเป็นที่ระบายน้ำได้ดี เพราะเมื่อถึงฤดูฝนเวลาฝนตกลงมาน้ำจะได้ไม่ท่วม หากบริเวณใกล้เคียงกันเป็นที่นาก็จะดีมาก เนื่องจากเมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ข้าวที่ตกหล่นจะเป็นอาหารของไก่พื้นเมืองที่เลี้ยงอยู่
2. ใกล้แหล่งน้ำจืด การเลี้ยงไก่พื้นเมืองจำเป็นต้องมีน้ำจืดที่สะอาดให้กินตลอดเวลา จะช่วยให้การเลี้ยงไก่พื้นเมืองประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น ถ้าไก่พื้นเมืองขาดน้ำแล้ว การเจริญเติบโตของไก่พื้นเมืองอาจลดลงได้
3. สถานที่ที่จะเลี้ยงไก่พื้นเมืองนั้น ไม่ควรเป็นที่ที่เคยมีโ s คระ u า ดมาก่อน
4. ควรอยู่ห่างจากแหล่งชุมชนพอสมควร ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้กลิ่นและเสียงไปรบกวนหรือไปทำความรำคาญให้กับชาวบ้างใกล้เคียง
5. อยู่ใกล้เส้นทางคมนาคม เพื่อเป็นการประหยัดค่าขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นการขนอาหาร วัสดุในการเลี้ยงเข้ามาหรือขนไก่พื้นเมืองออกไปจำหน่าย ต้องทำได้ง่ายและสะดวก
6.บริเวณที่เลี้ยงไก่พื้นเมือง ควรมีต้นไม้เพื่อบังแสงแดดในตองกลางวันหรือตอนบ่าย จะช่วยให้สถานที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองมีความร่มเย็นทำให้ไก่พื้นเมืองไม่เ ค รี ย ดเกินไป การเจริญเติบโตของไก่พื้นเมืองก็เป็นไปตามปกติ
7.จะต้องไม่ไกลจากบ้านพักของผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองมากเกินไปนักทั้งนี้เพื่อสะดวกในการดูแล
การคัดเลือกพั น ธุ์ไก่พื้นเมือง ผู้ที่จะเลี้ยงควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1.ไก่พื้นเมืองที่ดีควรมีรูปร่างใหญ่ ตัวโต แข็งแรง คอย าว ขนดกเป็นมัน ไม่เป็นโ s ค คัดจากพ่อแม่เป็นไก่พื้นเมืองที่มีลูกดก
2.ผู้ที่เลี้ยงไก่พื้นเมืองต้องหมั่นคัดเลือกพ่อพั น ธุ์ แม่พั น ธุ์ไก่พื้นเมืองตัวที่มีลักษณะดีเด่นไว้ทำพั น ธุ์ ถ้าพ่อพั น ธุ์ แม่พั น ธุ์ไก่มีอายุแก่เกิน 3 ปี ให้คัดออกไม่ใช้ทำพั น ธุ์ต่อไป
3.ให้คัดเลือกลูกไก่พื้นเมืองที่เกิดจากพ่อพั น ธุ์ แม่พั น ธุ์ไก่พื้นเมืองตัวที่ดีไว้ทำพันธุ์รุ่นละ 2-3 ตัว
ลักษณะพ่อพั น ธุ์ แม่พั น ธุ์ไก่พื้นเมืองที่ดี
1. พ่อพั น ธุ์ไก่พื้นเมืองที่ดี จะต้องมีรูปร่างสมบูรณ์ แข็งแรง มีน้ำหนักตัวตั้งแต่ 2.5 กิโลกรัมขึ้นไป มีอายุตั้งแต่ 9 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี
2. แม่พั น ธุ์ไก่พื้นเมือง จะต้องมีรูปร่างสมบูรณ์ แข็งแรง ขนดก มีน้ำหนักตัวตั้งแต่ 1.5 กิโลกรัมขึ้นไป มีอายุตั้งแต่ 7 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี และมีความสามารถเฉพาะตัว ดังนี้
1.ให้ไข่อย่ างน้อยปีละ 4 ชุด
2.ให้ไข่อย่ างน้อยชุดละ 12 ฟอง
3.ฟักไข่ออกเป็นตัวอย่างน้อยชุดละ 8 ตัว
4.เลี้ยงลูกเก่ง เลี้ยงลูกรอดจนโตชุดละประมาณ 6 ตัว
แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/mxsamleiyngki/