เรื่องของ “ไข่ไก่” กับสุขภาพที่คุณอาจยังไม่รู้
ไข่เป็นวัตถุดิบคู่ครัว เป็นอาหารให้โปรตีนที่ใครๆ ก็ทำได้ กินง่าย ใกล้ตัว แต่หลายครั้งก็กลายเป็นปัญหาโลกแตกอยู่เหมือนกัน G101 วิชาศึกษาไข่ตามฉบับกรีนเนอรี่ จึงรวบรวมทุกคำถามมาตอบแบบ ‘เรียงตามลำดับไข่’ ให้เข้าใจตรงกัน เอ้า ใครใคร่ไข่เชิญทางนี้!
เรียงตาม ‘ขนาด’ ไข่
ไข่ที่ขายกันอยู่ตามท้องตลาดวัดราคาขายกันตามขนาด ไล่จากไข่ใหญ่ไปไข่เล็ก มีตั้งแต่เบอร์ 0, 1, 2, 3, 4, 5 หรือเล็กกว่านั้น ดูแต่ตาอาจจะต่างกันไม่มาก ดังนั้น การจะปะเบอร์ให้กับไข่จึงต้องมีมาตรฐานสากล โดยไข่แต่ละเบอร์จะพิจารณาจากน้ำหนักต่อ 1 ฟอง
ไข่เบอร์ 0 คือไข่ยักษ์จัมโบ้ที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 70 กรัมขึ้นไป
ไข่เบอร์ 1 คือไข่ใหญ่พิเศษที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 65-69 กรัม
ไข่เบอร์ 2 คือไข่ใหญ่ที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 60-64 กรัม
ไข่เบอร์ 3 คือไข่กลางที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 55-59 กรัม
ไข่เบอร์ 4 คือไข่เล็กที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 50-54 กรัม
ไข่เบอร์ 5 คือไข่จิ๋วที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 45-49 กรัม
คุณแม่บ้านหลายคนเชื่อว่าไข่ใหญ่หรือไข่เบอร์ 0 คือไข่ที่ดีและมีสารอาหารเยอะที่สุด แต่มีงานวิจัยบอกว่า ที่จริงไข่แต่ละเบอร์ไม่ได้มีโปรตีนและสารอาหารต่างกันมากนัก ดังนั้น เวลาเลือกไข่จึงไม่ได้ดูกันที่ขนาด แต่ให้ดูไข่ที่ดีและสด โดยเปลือกไข่จะต้องเป็นสีนวลอ่อนไม่เข้มเกินไป วัดความสดด้วยการเขย่าเนื้อในดูว่าไม่คลอน ตอกออกมาแล้วไข่แดงมีสีเหลืองนวลไม่ใส่สี ไข่ขาวข้นเกาะตัวกัน และที่สำคัญให้ดูที่วิธีการเลี้ยงไก่ ถ้าเลี้ยงดี ไก่ดี ไข่ก็จะดีตามไปด้วย
เรียงตาม ‘คลอเลสเตอรอล’ ในไข่
คลอเลสเตอรอลคือส่วนประกอบเล็กๆ ในไขมันซึ่งพบได้ในไข่แดง แต่ไม่พบในไข่ขาว คลอเลสเตอรอลในไข่แต่ละชนิดคือสิ่งที่ผู้คนหวาดกลัว และเต็มไปด้วยความเข้าใจผิด แต่งานวิจัยหลายชิ้นเรื่องคลอเลสเตอรอลในไข่ได้สรุปแล้วว่า การกินไข่มีผลต่อระดับคลอเลสเตอรอลในเลือดเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และอาจมีผลต่อระดับคลอเลสเตอรอลในเลือดน้อยกว่าการกินเนื้อสัตว์ที่มีปริมาณไขมันชนิดอิ่มตัวสูงด้วยซ้ำ
นั่นแปลว่า ถ้าเราไม่ได้กินไข่ในจำนวนที่มากเกินไปต่อวัน (ร่างกายของคนทั่วไปที่สุขภาพปกติ ต้องการคลอเลสเตอรอลจากอาหารวันละ 300 มิลลิกรัม) ก็ไม่ต้องกลัวการกินไข่จนเกินไป สิ่งที่ควรรู้คือไข่แต่ละชนิดให้คลอเลสเตอรอลเท่าไหร่ และสิ่งที่เราต้องควบคุมให้ได้คือจำนวนฟองของไข่แต่ละชนิดที่เรากินเข้าไปในแต่ละครั้งต่างหาก
เรื่องเข้าใจผิดคือ ไข่นกกระทาไม่ได้มีคลอเลสเตอรอลมากที่สุด แต่ที่จริงแล้วมีคลอเลสเตอรอลต่อฟองเพียง 50 มิลลิกรัม ซึ่งน้อยที่สุดในบรรดาไข่ทุกประเภท ส่วนไข่ไก่มีคลอเลสเตอรอลน้อยกว่าไข่เป็ด แต่ไข่เป็ดนั้นมีคลอเลสเตอรอลเท่าไข่เยี่ยวม้าและไข่เค็ม เพราะไข่เยี่ยวม้าและไข่เค็มนั้นคือการเอาไข่เป็ดไปแปรรูปให้อยู่ได้นานขึ้นนั่นเอง แต่สิ่งที่ควรระวังเพิ่มเติมในไข่เยี่ยวม้าคือสารตะกั่วและเชื้อราที่อาจถูกใช้ในกระบวนการหมัก ส่วนไข่เค็มต้องระวังปริมาณโซเดียมที่มาพร้อมความเค็มนั่นเอง
เรียงตาม ‘แคลอรี่’ ในเมนูไข่
เรื่องของ “ไข่ไก่” กับสุขภาพที่คุณอาจยังไม่รู้
ไข่เป็นวัตถุดิบคู่ครัว เป็นอาหารให้โปรตีนที่ใครๆ ก็ทำได้ กินง่าย ใกล้ตัว แต่หลายครั้งก็กลายเป็นปัญหาโลกแตกอยู่เหมือนกัน G101 วิชาศึกษาไข่ตามฉบับกรีนเนอรี่ จึงรวบรวมทุกคำถามมาตอบแบบ ‘เรียงตามลำดับไข่’ ให้เข้าใจตรงกัน เอ้า ใครใคร่ไข่เชิญทางนี้!
เรียงตาม ‘ขนาด’ ไข่
ไข่ที่ขายกันอยู่ตามท้องตลาดวัดราคาขายกันตามขนาด ไล่จากไข่ใหญ่ไปไข่เล็ก มีตั้งแต่เบอร์ 0, 1, 2, 3, 4, 5 หรือเล็กกว่านั้น ดูแต่ตาอาจจะต่างกันไม่มาก ดังนั้น การจะปะเบอร์ให้กับไข่จึงต้องมีมาตรฐานสากล โดยไข่แต่ละเบอร์จะพิจารณาจากน้ำหนักต่อ 1 ฟอง
ไข่เบอร์ 0 คือไข่ยักษ์จัมโบ้ที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 70 กรัมขึ้นไป
ไข่เบอร์ 1 คือไข่ใหญ่พิเศษที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 65-69 กรัม
ไข่เบอร์ 2 คือไข่ใหญ่ที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 60-64 กรัม
ไข่เบอร์ 3 คือไข่กลางที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 55-59 กรัม
ไข่เบอร์ 4 คือไข่เล็กที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 50-54 กรัม
ไข่เบอร์ 5 คือไข่จิ๋วที่มีน้ำหนักขั้นต่ำต่อฟอง 45-49 กรัม
คุณแม่บ้านหลายคนเชื่อว่าไข่ใหญ่หรือไข่เบอร์ 0 คือไข่ที่ดีและมีสารอาหารเยอะที่สุด แต่มีงานวิจัยบอกว่า ที่จริงไข่แต่ละเบอร์ไม่ได้มีโปรตีนและสารอาหารต่างกันมากนัก ดังนั้น เวลาเลือกไข่จึงไม่ได้ดูกันที่ขนาด แต่ให้ดูไข่ที่ดีและสด โดยเปลือกไข่จะต้องเป็นสีนวลอ่อนไม่เข้มเกินไป วัดความสดด้วยการเขย่าเนื้อในดูว่าไม่คลอน ตอกออกมาแล้วไข่แดงมีสีเหลืองนวลไม่ใส่สี ไข่ขาวข้นเกาะตัวกัน และที่สำคัญให้ดูที่วิธีการเลี้ยงไก่ ถ้าเลี้ยงดี ไก่ดี ไข่ก็จะดีตามไปด้วย
เรียงตาม ‘คลอเลสเตอรอล’ ในไข่
คลอเลสเตอรอลคือส่วนประกอบเล็กๆ ในไขมันซึ่งพบได้ในไข่แดง แต่ไม่พบในไข่ขาว คลอเลสเตอรอลในไข่แต่ละชนิดคือสิ่งที่ผู้คนหวาดกลัว และเต็มไปด้วยความเข้าใจผิด แต่งานวิจัยหลายชิ้นเรื่องคลอเลสเตอรอลในไข่ได้สรุปแล้วว่า การกินไข่มีผลต่อระดับคลอเลสเตอรอลในเลือดเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และอาจมีผลต่อระดับคลอเลสเตอรอลในเลือดน้อยกว่าการกินเนื้อสัตว์ที่มีปริมาณไขมันชนิดอิ่มตัวสูงด้วยซ้ำ
www.tededkaichon.com
#เเทงไก่#ไก่ชนออนไลน์#บ่อนไก่#ทีเด็ดไก่ชน#ไก่ชนเงินล้าน
นั่นแปลว่า ถ้าเราไม่ได้กินไข่ในจำนวนที่มากเกินไปต่อวัน (ร่างกายของคนทั่วไปที่สุขภาพปกติ ต้องการคลอเลสเตอรอลจากอาหารวันละ 300 มิลลิกรัม) ก็ไม่ต้องกลัวการกินไข่จนเกินไป สิ่งที่ควรรู้คือไข่แต่ละชนิดให้คลอเลสเตอรอลเท่าไหร่ และสิ่งที่เราต้องควบคุมให้ได้คือจำนวนฟองของไข่แต่ละชนิดที่เรากินเข้าไปในแต่ละครั้งต่างหาก
เรื่องเข้าใจผิดคือ ไข่นกกระทาไม่ได้มีคลอเลสเตอรอลมากที่สุด แต่ที่จริงแล้วมีคลอเลสเตอรอลต่อฟองเพียง 50 มิลลิกรัม ซึ่งน้อยที่สุดในบรรดาไข่ทุกประเภท ส่วนไข่ไก่มีคลอเลสเตอรอลน้อยกว่าไข่เป็ด แต่ไข่เป็ดนั้นมีคลอเลสเตอรอลเท่าไข่เยี่ยวม้าและไข่เค็ม เพราะไข่เยี่ยวม้าและไข่เค็มนั้นคือการเอาไข่เป็ดไปแปรรูปให้อยู่ได้นานขึ้นนั่นเอง แต่สิ่งที่ควรระวังเพิ่มเติมในไข่เยี่ยวม้าคือสารตะกั่วและเชื้อราที่อาจถูกใช้ในกระบวนการหมัก ส่วนไข่เค็มต้องระวังปริมาณโซเดียมที่มาพร้อมความเค็มนั่นเอง
เรียงตาม ‘แคลอรี่’ ในเมนูไข่